คงเหลือ รอคิว รอ/วัน
1/1 0 0
  • ประเภท : อีบุ๊ก
  • สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • Author : พงษ์เทพ สันติกุล
  • ISBN :9786163145925
  • ภาษา : ไทย
  • จำนวนหน้า : 239
  • ขนาดไฟล์ : 8.73 MB
ความขัดแย้งเป็นสิ่งดำรงอยู่ในทุกสังคม เป็นสิ่งที่ทุกคนคุ้นเคยและมีประสบการณ์ร่วมด้วยไม่มากก็น้อย แต่ในความเป็นจริงแล้วมีบุคคลจำนวนน้อยเท่านั้นที่เข้าใจความขัดแย้งได้ดี โดยเฉพาะความขัดแย้งในประเด็นแรงงานซึ่งเป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์จากสัญญาจ้างแรงงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างซึ่งอาจเกิดความขัดแย้งขึ้นได้ตลอดเวลา แต่เป็นความขัดแย้งที่แตกต่างจากความขัดแย้งทั่วไป กล่าวคือ เมื่อความขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้รับการบริหารจัดการแล้วคู่ขัดแย้ง (นายจ้างกับลูกจ้าง) ต้องกลับมาทำงานร่วมกันอีก การบริหารความขัดแย้งในประเด็นแรงงานจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง สารบัญ บทที่ 1 ความขัดแย้ง บทที่ 2 ทฤษฎีความขัดแย้ง บทที่ 3 ความขัดแย้งในประเด็นแรงงาน บทที่ 4 การบริหารความขัดแย้ง บทที่ 5 การออกแบบการบริหารความขัดแย้ง บทที่ 6 ตัวอย่างความขัดแย้งในประเด็นแรงงาน
ความขัดแย้งเป็นสิ่งดำรงอยู่ในทุกสังคม เป็นสิ่งที่ทุกคนคุ้นเคยและมีประสบการณ์ร่วมด้วยไม่มากก็น้อย แต่ในความเป็นจริงแล้วมีบุคคลจำนวนน้อยเท่านั้นที่เข้าใจความขัดแย้งได้ดี โดยเฉพาะความขัดแย้งในประเด็นแรงงานซึ่งเป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์จากสัญญาจ้างแรงงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างซึ่งอาจเกิดความขัดแย้งขึ้นได้ตลอดเวลา แต่เป็นความขัดแย้งที่แตกต่างจากความขัดแย้งทั่วไป กล่าวคือ เมื่อความขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้รับการบริหารจัดการแล้วคู่ขัดแย้ง (นายจ้างกับลูกจ้าง) ต้องกลับมาทำงานร่วมกันอีก การบริหารความขัดแย้งในประเด็นแรงงานจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง
สารบัญ
บทที่ 1 ความขัดแย้ง
บทที่ 2 ทฤษฎีความขัดแย้ง
บทที่ 3 ความขัดแย้งในประเด็นแรงงาน
บทที่ 4 การบริหารความขัดแย้ง
บทที่ 5 การออกแบบการบริหารความขัดแย้ง
บทที่ 6 ตัวอย่างความขัดแย้งในประเด็นแรงงาน