การสำรวจด้วยภาพถ่าย Photogrammetry
การสำรวจด้วยภาพถ่าย Photogrammetry
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : SE-ED
- Author : ผศ.ดร. ชาติชาย ไวยสุระสิงห์
- ISBN :9786164384484
- ภาษา : thai
- จำนวนหน้า : 311
- ขนาดไฟล์ : 52.00 MB
การสำรวจด้วยภาพถ่าย Photogrammetry
ในปัจจุบันอันเป็นยุคที่เทคโนโลยีด้านการสำรวจรังวัดและทำแผนที่ได้มีความก้าวหน้าและเกิดการปรับโฉมไปอย่างมากส่งผลให้การสำรวจด้วยภาพถ่ายกลายเป็นเรื่องที่กำลังได้รับความนิยมอย่างยิ่งในวงการวิศวกรรมโยธา
ผู้เขียน ผศ.ดร. ชาติชาย ไวยสุระสิงห์
“การสำรวจด้วยภาพถ่าย (Photogrammetry)” ได้มีการออกแบบให้มีเนื้อหาที่ครอบคลุมตั้งแต่พื้นฐานด้านการสำรวจด้วยภาพถ่าย
นิยาม คำสำคัญต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรังวัดด้วยภาพถ่ายความเป็นมาของเทคโนโลยีการสำรวจด้วยภาพถ่าย เครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจด้วยภาพถ่ายในยุคต่าง ๆ
ทฤษฎีสมการสภาวะร่วมเส้น การวางแผนการบินถ่ายภาพรวมถึงโครงข่ายการถ่ายภาพภาคพื้นดิน โครงข่ายสามเหลี่ยมของงานสำรวจด้วยภาพถ่าย
การมองภาพสามมิติ ระยะเหลื่อม การวัดความสูงจากภาพถ่าย แบบจำลองความสูง การดัดแก้ภาพถ่าย การผลิตภาพถ่ายออร์โธ
การประยุกต์ใช้การรังวัดด้วยภาพถ่ายทั้งเชิงวิศวกรรมและเชิงอนุรักษ์สถาปัตยกรรม ยิ่งไปกว่านั้น ผู้แต่งได้มีการบรรจุเอาเนื้อหาการสำรวจด้วยภาพถ่าย
จากอากาศยานไร้คนขับเข้าไว้ในหนังสือเล่มนี้ด้วย
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำสู่การรังวัดด้วยภาพถ่าย (Introduction to Photogrammetry)
1.1 มโนทัศน์ของการรังวัดด้วยภาพถ่าย (Concept of Photogrammetry)
1.2 วิวัฒนาการของการสำรวจด้วยภาพถ่าย (History of Photogrammetry)
1.3 สมาคมวิชาชีพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจด้วยภาพถ่าย (Professional Organization of Photogrammetry)
1.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 2 แนวคิดพื้นฐานของการสำรวจด้วยภาพถ่าย (Basic Concepts of Photogrammetry)
2.1 กล้องถ่ายภาพและส่วนประกอบ (Camera and Components)
2.2 กล้องถ่ายภาพทางอากาศ (Aerial Camera)
2.3 การแปลงค่าพิกัด (Coordinate Transformation)
2.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 3 การวางแผนการถ่ายภาพ (Image Configuration)
3.1 การวางแผนการถ่ายภาพด้วยเครื่องบิน (Flight Planning of Aircraft)
3.2 การวางแผนการถ่ายภาพด้วยอากาศยานไร้คนขับ
3.3 การวางแผนการถ่ายภาพภาคพื้นดิน (Planning for Terrestrial Image Capture)
3.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 4 โครงข่ายสามเหลี่ยมของงานสำรวจด้วยภาพถ่าย (Photogrammetric Triangulation)
4.1 สภาวะร่วมเส้นของรังสีการถ่ายภาพ (Collinearity of Bundle from Image Ray Condition)
4.2 การรังวัดพิกัดบนภาพถ่าย (Image Mensuration)
4.3 การรังวัดพิกัดภาคพื้นดิน (Ground Observation of GCP)
4.4 การประมวลผลปรับแก้บล็อครังสีการถ่ายภาพ (Bundle Block Adjustment Computation)
4.5 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 5 การมองภาพสามมิติ ระยะเหลื่อม และการวัดความสูง (Stereoscopic Viewing and Stereoscopic Parallax and Height Measurement)
5.1 การมองภาพสามมิติ (Stereoscopic Viewing)
5.2 การวัดความสูงจากภาพถ่ายทางอากาศ (Height Measurement from Aerial Photography)
5.3 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 6 แบบจำลองความสูง (Digital Elevation Model)
6.1 การนำเสนอลักษณะภูมิประเทศแบบต่างๆ (Terrain Representation)
6.2 ข้อมูลแบบจำลองความสูงแบบต่างๆ (Digital Terrain Data)
6.3 การใช้ประโยชน์จากแบบจำลองความสูงในงานวิศวกรรมโยธา (Utilization of DEM for Civil Engineering Works)
6.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 7 การดัดแก้ภาพถ่ายและภาพถ่ายออร์โธ (Rectification and Ortho Photography)
7.1 การดัดแก้ภาพถ่าย (Orthorectification)
7.2 การต่อภาพและการปรับปรุงคุณภาพของภาพถ่ายออร์โธ (Mosaicking and Enhancing of Orthophoto)
7.3 มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมสำรวจและการแผนที่ (Standards related to surveying engineering and mapping)
7.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 8 การประยุกต์ใช้การรังวัดด้วยภาพถ่าย (Applications to Engineering Works)
8.1 การประยุกต์ใช้ในงานวิศวกรรม (Appilcation to Engineering Wroks)
8.2 การประยุกต์ใช้ในงานเกษตรกรรม(Application to Agriculture Works)
8.3 การประยุกต์ใช้ในงานด้านสถาปัตยกรรม (Application to Architectural Works)
8.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
ข้อมูลเพิ่มเติม
ในปัจจุบันอันเป็นยุคที่เทคโนโลยีด้านการสำรวจรังวัดและทำแผนที่ได้มีความก้าวหน้าและเกิดการปรับโฉมไป
อย่างมากส่งผลให้การสำรวจด้วยภาพถ่ายกลายเป็นเรื่องที่กำลังได้รับความนิยมอย่างยิ่งในวงการวิศวกรรมโยธาและสำรวจ
งานด้านการสำรวจและออกแบบมีการกำหนดให้ใช้ข้อมูลแผนที่ภาพถ่ายออร์โธมากขึ้น ส่งผลให้ความรู้ด้านนี้กลายเป็น
สิ่งจำเป็นสำหรับวิศวกรโยธา ดังนั้นหนังสือเรื่อง “การสำรวจด้วยภาพถ่าย (Photogrammetry)” จึงได้มีการออกแบบให้
มีเนื้อหาที่ครอบคลุมตั้งแต่พื้นฐานด้านการสำรวจด้วยภาพถ่าย นิยาม คำสำคัญต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรังวัดด้วยภาพถ่าย
ความเป็นมาของเทคโนโลยีการสำรวจด้วยภาพถ่าย เครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจด้วยภาพถ่ายในยุคต่าง ๆ ทฤษฎีสมการ
สภาวะร่วมเส้น การวางแผนการบินถ่ายภาพรวมถึงโครงข่ายการถ่ายภาพภาคพื้นดิน โครงข่ายสามเหลี่ยมของงานสำรวจ
ด้วยภาพถ่าย การมองภาพสามมิติ ระยะเหลื่อม การวัดความสูงจากภาพถ่าย แบบจำลองความสูง การดัดแก้ภาพถ่าย การ
ผลิตภาพถ่ายออร์โธ การประยุกต์ใช้การรังวัดด้วยภาพถ่ายทั้งเชิงวิศวกรรมและเชิงอนุรักษ์สถาปัตยกรรม ยิ่งไปกว่านั้น ผู้
แต่งได้มีการบรรจุเอาเนื้อหาการสำรวจด้วยภาพถ่ายจากอากาศยานไร้คนขับเข้าไว้ในหนังสือเล่มนี้ด้วย ซึ่งผู้แต่งหวังเป็น
อย่างยิ่งว่า เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้จะมีส่วนช่วยให้ผู้อ่าน ซึ่งเน้นไปที่กลุ่มงานวิศวกรรมโยธาที่สนใจจะนำความรู้ด้านนี้ไปใช้
ในการสำรวจรังวัดบังเกิดความเข้าใจและสามารถนำเอากรณีศึกษาและทฤษฎีต่าง ๆ ที่นอกจากจะนำไปใช้ในประกอบการ
เรียนแล้ว ยังสามารถนำไปใช้ประกอบการทำงานด้านการสำรวจรังวัดด้วยภาพถ่ายได้เป็นอย่างดี
บทที่ 1 บทนำสู่การรังวัดด้วยภาพถ่าย (Introduction to Photogrammetry)
1.1 มโนทัศน์ของการรังวัดด้วยภาพถ่าย (Concept of Photogrammetry)
1.2 วิวัฒนาการของการสำรวจด้วยภาพถ่าย (History of Photogrammetry)
1.3 สมาคมวิชาชีพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจด้วยภาพถ่าย (Professional Organization of Photogrammetry)
1.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 2 แนวคิดพื้นฐานของการสำรวจด้วยภาพถ่าย (Basic Concepts of Photogrammetry)
2.1 กล้องถ่ายภาพและส่วนประกอบ (Camera and Components)
2.2 กล้องถ่ายภาพทางอากาศ (Aerial Camera)
2.3 การแปลงค่าพิกัด (Coordinate Transformation)
2.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 3 การวางแผนการถ่ายภาพ (Image Configuration)
3.1 การวางแผนการถ่ายภาพด้วยเครื่องบิน (Flight Planning of Aircraft)
3.2 การวางแผนการถ่ายภาพด้วยอากาศยานไร้คนขับ
3.3 การวางแผนการถ่ายภาพภาคพื้นดิน (Planning for Terrestrial Image Capture)
3.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 4 โครงข่ายสามเหลี่ยมของงานสำรวจด้วยภาพถ่าย (Photogrammetric Triangulation)
4.1 สภาวะร่วมเส้นของรังสีการถ่ายภาพ (Collinearity of Bundle from Image Ray Condition)
4.2 การรังวัดพิกัดบนภาพถ่าย (Image Mensuration)
4.3 การรังวัดพิกัดภาคพื้นดิน (Ground Observation of GCP)
4.4 การประมวลผลปรับแก้บล็อครังสีการถ่ายภาพ (Bundle Block Adjustment Computation)
4.5 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 5 การมองภาพสามมิติ ระยะเหลื่อม และการวัดความสูง (Stereoscopic Viewing and Stereoscopic Parallax and Height Measurement)
5.1 การมองภาพสามมิติ (Stereoscopic Viewing)
5.2 การวัดความสูงจากภาพถ่ายทางอากาศ (Height Measurement from Aerial Photography)
5.3 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 6 แบบจำลองความสูง (Digital Elevation Model)
6.1 การนำเสนอลักษณะภูมิประเทศแบบต่างๆ (Terrain Representation)
6.2 ข้อมูลแบบจำลองความสูงแบบต่างๆ (Digital Terrain Data)
6.3 การใช้ประโยชน์จากแบบจำลองความสูงในงานวิศวกรรมโยธา (Utilization of DEM for Civil Engineering Works)
6.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 7 การดัดแก้ภาพถ่ายและภาพถ่ายออร์โธ (Rectification and Ortho Photography)
7.1 การดัดแก้ภาพถ่าย (Orthorectification)
7.2 การต่อภาพและการปรับปรุงคุณภาพของภาพถ่ายออร์โธ (Mosaicking and Enhancing of Orthophoto)
7.3 มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมสำรวจและการแผนที่ (Standards related to surveying engineering and mapping)
7.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 8 การประยุกต์ใช้การรังวัดด้วยภาพถ่าย (Applications to Engineering Works)
8.1 การประยุกต์ใช้ในงานวิศวกรรม (Appilcation to Engineering Wroks)
8.2 การประยุกต์ใช้ในงานเกษตรกรรม(Application to Agriculture Works)
8.3 การประยุกต์ใช้ในงานด้านสถาปัตยกรรม (Application to Architectural Works)
8.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
1.1 มโนทัศน์ของการรังวัดด้วยภาพถ่าย (Concept of Photogrammetry)
1.2 วิวัฒนาการของการสำรวจด้วยภาพถ่าย (History of Photogrammetry)
1.3 สมาคมวิชาชีพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจด้วยภาพถ่าย (Professional Organization of Photogrammetry)
1.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 2 แนวคิดพื้นฐานของการสำรวจด้วยภาพถ่าย (Basic Concepts of Photogrammetry)
2.1 กล้องถ่ายภาพและส่วนประกอบ (Camera and Components)
2.2 กล้องถ่ายภาพทางอากาศ (Aerial Camera)
2.3 การแปลงค่าพิกัด (Coordinate Transformation)
2.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 3 การวางแผนการถ่ายภาพ (Image Configuration)
3.1 การวางแผนการถ่ายภาพด้วยเครื่องบิน (Flight Planning of Aircraft)
3.2 การวางแผนการถ่ายภาพด้วยอากาศยานไร้คนขับ
3.3 การวางแผนการถ่ายภาพภาคพื้นดิน (Planning for Terrestrial Image Capture)
3.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 4 โครงข่ายสามเหลี่ยมของงานสำรวจด้วยภาพถ่าย (Photogrammetric Triangulation)
4.1 สภาวะร่วมเส้นของรังสีการถ่ายภาพ (Collinearity of Bundle from Image Ray Condition)
4.2 การรังวัดพิกัดบนภาพถ่าย (Image Mensuration)
4.3 การรังวัดพิกัดภาคพื้นดิน (Ground Observation of GCP)
4.4 การประมวลผลปรับแก้บล็อครังสีการถ่ายภาพ (Bundle Block Adjustment Computation)
4.5 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 5 การมองภาพสามมิติ ระยะเหลื่อม และการวัดความสูง (Stereoscopic Viewing and Stereoscopic Parallax and Height Measurement)
5.1 การมองภาพสามมิติ (Stereoscopic Viewing)
5.2 การวัดความสูงจากภาพถ่ายทางอากาศ (Height Measurement from Aerial Photography)
5.3 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 6 แบบจำลองความสูง (Digital Elevation Model)
6.1 การนำเสนอลักษณะภูมิประเทศแบบต่างๆ (Terrain Representation)
6.2 ข้อมูลแบบจำลองความสูงแบบต่างๆ (Digital Terrain Data)
6.3 การใช้ประโยชน์จากแบบจำลองความสูงในงานวิศวกรรมโยธา (Utilization of DEM for Civil Engineering Works)
6.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 7 การดัดแก้ภาพถ่ายและภาพถ่ายออร์โธ (Rectification and Ortho Photography)
7.1 การดัดแก้ภาพถ่าย (Orthorectification)
7.2 การต่อภาพและการปรับปรุงคุณภาพของภาพถ่ายออร์โธ (Mosaicking and Enhancing of Orthophoto)
7.3 มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมสำรวจและการแผนที่ (Standards related to surveying engineering and mapping)
7.4 แบบฝึกหัด (Exercise)
บทที่ 8 การประยุกต์ใช้การรังวัดด้วยภาพถ่าย (Applications to Engineering Works)
8.1 การประยุกต์ใช้ในงานวิศวกรรม (Appilcation to Engineering Wroks)
8.2 การประยุกต์ใช้ในงานเกษตรกรรม(Application to Agriculture Works)
8.3 การประยุกต์ใช้ในงานด้านสถาปัตยกรรม (Application to Architectural Works)
8.4 แบบฝึกหัด (Exercise)