การพยาบาลผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อ
การพยาบาลผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อ
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Author : จิณพิชญชา มะมม
- ISBN :9786163144720
- ภาษา : ไทย
- จำนวนหน้า : 265
- ขนาดไฟล์ : 10.79 MB
การรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหากระดูกและข้อในปัจจุบันมีหลากหลายวิธี เช่น การถ่วงดึงกระดูก การใส่เฝือก การผ่าตัดใส่เหล็กและอุปกรณ์ยึดตรึงกระดูกทั้งภายนอกและภายในร่างกาย เป็นต้น ดังนั้นเพื่อช่วยให้การ รักษาดูแลผู้ป่วยบรรลุความสําเร็จ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้รับความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิต ไม่เกิดภาวะ แทรกซ้อนต่างๆ หรือความพิการ บุคลากรทางสุขภาพจึงต้องมีความรู้ในการดูแลและการพยาบาลผู้ป่วย ที่มีปัญหากระดูก กล้ามเนื้อและข้อดังกล่าว อย่างครอบคลุม ตําราเล่มนี้มีเป้าหมายที่จะให้ความรู้เกี่ยวกับ การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่พบบ่อยในโรงพยาบาลที่มีความละเอียด ทันสมัย และมีภาพจากสถานการณ์จริงมาประกอบ รวมทั้งมีการยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่จะช่วยให้ผู้อ่านได้เรียนรู้การเชื่อมโยงความรู้เชิงทฤษฎีสู่ การปฏิบัติการพยาบาลอย่างเป็นรูปธรรมทําให้เข้าใจการใช้กระบวนการพยาบาลและนําไปประยุกต์การดูแลผู้ป่วยที่มีความเหมาะสมและเฉพาะเจาะจงในผู้ป่วยแต่ละราย ช่วยให้การเรียนการสอนบรรลุตาม วัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนและส่งเสริมให้ผู้อ่าน ผู้สนใจ บุคลากรทางด้านสุขภาพ เช่น พยาบาล นักศึกษาพยาบาล ได้นําความรู้ไปประยุกต์ในการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วย และนําความรู้ไปใช้ ในการพัฒนาศักยภาพของผู้ป่วยให้สามารถดํารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
การรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหากระดูกและข้อในปัจจุบันมีหลากหลายวิธี เช่น การถ่วงดึงกระดูก การใส่เฝือก การผ่าตัดใส่เหล็กและอุปกรณ์ยึดตรึงกระดูกทั้งภายนอกและภายในร่างกาย เป็นต้น ดังนั้นเพื่อช่วยให้การ รักษาดูแลผู้ป่วยบรรลุความสําเร็จ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้รับความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิต ไม่เกิดภาวะ แทรกซ้อนต่างๆ หรือความพิการ บุคลากรทางสุขภาพจึงต้องมีความรู้ในการดูแลและการพยาบาลผู้ป่วย ที่มีปัญหากระดูก กล้ามเนื้อและข้อดังกล่าว อย่างครอบคลุม ตําราเล่มนี้มีเป้าหมายที่จะให้ความรู้เกี่ยวกับ การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่พบบ่อยในโรงพยาบาลที่มีความละเอียด ทันสมัย และมีภาพจากสถานการณ์จริงมาประกอบ รวมทั้งมีการยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่จะช่วยให้ผู้อ่านได้เรียนรู้การเชื่อมโยงความรู้เชิงทฤษฎีสู่ การปฏิบัติการพยาบาลอย่างเป็นรูปธรรมทําให้เข้าใจการใช้กระบวนการพยาบาลและนําไปประยุกต์การดูแลผู้ป่วยที่มีความเหมาะสมและเฉพาะเจาะจงในผู้ป่วยแต่ละราย ช่วยให้การเรียนการสอนบรรลุตาม วัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนและส่งเสริมให้ผู้อ่าน ผู้สนใจ บุคลากรทางด้านสุขภาพ เช่น พยาบาล นักศึกษาพยาบาล ได้นําความรู้ไปประยุกต์ในการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วย และนําความรู้ไปใช้ ในการพัฒนาศักยภาพของผู้ป่วยให้สามารถดํารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป