การเมือง เรื่องเล่า พระเจ้าตาก หลัง 2475
การเมือง เรื่องเล่า พระเจ้าตาก หลัง 2475
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มติชน
- Author : ปฐมพงษ์ สุขเล็ก
- ISBN :9789740215523
- ภาษา : thai
- จำนวนหน้า : 258
- ขนาดไฟล์ : 4.92 MB
การเมือง เรื่องเล่า พระเจ้าตาก หลัง 2475
ในสมัยหนึ่ง พระราชประวัติพระเจ้าตาก ถูกปลุกปั้นเพื่อคำว่า "ชาติ"
ผู้เขียน ปฐมพงษ์ สุขเล็ก
พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ปรากฏครั้งแรกในพระราชพงศาวดารสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แต่รายละเอียดดังกล่าวก็มีเพียงเล็กน้อยเท่านั้น อีกทั้งในบั้นปลายพระชนม์ชีพของพระองค์ยังกล่าวถึงการมีพระอาการสติวิปลาสอีกด้วย แต่เมื่อช่วงหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ก่อเกิดวรรณกรรมเรื่องเล่าพระเจ้าตากขึ้นมากมาย มีการประดิษฐ์สร้างพระราชประวัติของพระองค์ขึ้นใหม่หลายฉากหลายตอน อย่างมีนัยยะสำคัญ โดยเฉพาะเรื่องการปฏิเสธว่าพระองค์ไม่ได้มีพระสติวิปลาสแต่อย่างใด เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุใดจึงมีการปลุกปั้นพระเจ้าตากขึ้นมาเป็นวีรกษัตริย์ จากร้ายกลายเป็นดี หรือจะเกี่ยวโยงกับยุคสมัยที่ผู้คนกล่าวขานกันว่า "สร้างชาติ"
สารบัญ
ภาคการสร้างเรื่องเล่า
1. การสร้างเรื่องเล่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในยุคปัจจุบัน
- การสร้างเรื่องเล่าจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร
- การสร้างเรื่องเล่าจากตำนานคำบอกเล่าท้องถิ่นและศาสตร์อื่น ๆ
- การสร้างเรื่องเล่าที่ไม่ปรากฎในหลักฐานทางประวัติศาสตร์
- "การเลือกใช้เอกสารทางประวัติศาสตร์" ส่งผลต่อ "การสร้างเรื่องเล่าและความหมาย"
ภาคการสร้างความหมาย
1. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วีรกษัตริย์ จากสามัญชน ในบริบทการเมือง 2475
2. การสร้างความหมายสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในยุคปัจจุบัน
- การสร้างความหมายใหม่และเน้นย้ำความหมายเดิม "วีรกษัตริย์"
- การสืบทอดความหมายดั้งเดิมจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
- การสืบทอดและสร้างสรรค์ "เฉลิมพระเกียรติ 2 มหาราช"