เปปไทด์สร้างจุลชีพ
เปปไทด์สร้างจุลชีพ
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : CHIANG MAI UNIVERSITY PRESS
- Author : ผศ. ดร. ทนพ. สรศักดิ์ อินทรสูต
- ISBN :978-616-398-614-6
- ภาษา : thai
- จำนวนหน้า : 192
- ขนาดไฟล์ : 7.19 MB
องค์ความรู้ด้านเปปไทด์ในปัจจุบันมีความสําาคัญมาก เนื่องจากมีบทบาทในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นการวนิจฉัยหรือการรักษาโรค หนังสือ เรื่อง “เปปไทด์ต้านจุลชีพ อนาคตใหม่ของการรัก ษา โรคติดเชื้อ” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สรศักดิ์ อินทรสูต คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เล่มนี้ เป็นหนังสือท่ีอัดแน่นไปด้วยเนื้อหาทางวิชาการ เร่ิมต้ังแต่ประวัติการค้นพบเปปไทด์ คุณสมบัติท่ัวไปและฤทธิ์ของเปปไทด์ต้านจุลชีพ เทคนิคและวิธีการสําหรับการค้นหาเปปไทด์ ต้านจลุชีพ กระบวนการการสังเคราะห์เปปไทด์ต้านจุลชีพในเชื้อจุลชีพโดยอาศัยรีคอมบิแนนท์ ดีเอ็นเอเทคโนโลยี การนําไปรู้จักเปปไทด์ต้านจุลชีพชนิดต่าง ๆ จากพืช การใช้เปปไทด์ต้านจุลชีพ กับโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ รวมถึงการประยุกต์ใช้เปปไทด์ต้านจุลชีพทางคลินิก
บทท่ี 1 ประวัติการค้นพบ คุณสมบัติทั่วไป 1
และฤทธิ์ของเปปไทด์ต้านจุลชีพ
1.1 บทนํา 2
1.2 ประวัติการค้นพบเปปไทด์ต้านจุลชีพ 3
1.3 คุณสมบัติท่ัวไปของเปปไทด์ต้านจุลชีพ 5
1.4 โครงสร้างทุติยภูมิของเปปไทด์ต้านจุลชีพ 5
1.4.1 เปปไทด์ท่ีมีโครงสร้างเกลียวแอลฟา-เฮลิกซ์ 5 (alpha-helical peptides)
* 1.4.2 เปปไทด์ที่มีโครงสร้างบีตา-ชีต (beta-sheet peptides) 7
* 1.4.3 เปปไทด์ที่มีโครงสร้างสายตรง (extended peptides) 8
* 1.4.4 เปปไทด์ท่ีมีโครงสร้างผสม (alpha-helix and 8 beta-sheet peptides)
1.5 กลไกการออกฤทธ์ของเปปไทด์ในการฆ่า เชื้อจุลชีพ ผ่านทางการทำ ลาย 9
เซลล์เมมเบรน
1.6 แบบจําาลองการทําาลายเชื้อของเปปไทด์ต้านจุลชีพผ่านเซลล์เมมเบรน 10
1.6.1 แบบจําลองถังไม้ (barrel-stave model) 10
1.6.2 แบบจําลองผืนพรม (carpet model) 10
1.6.3 แบบจําลองรูหนอน (toroid หรือ wormhole model) 10
1.7 กลไกการออกฤทธ์ิของเปปไทด์ในการฆ่าเชื้อจุลชีพผ่านทาง 12
สารชีวโมเลกุลภายในเซลล์
และฤทธิ์ของเปปไทด์ต้านจุลชีพ
1.1 บทนํา 2
1.2 ประวัติการค้นพบเปปไทด์ต้านจุลชีพ 3
1.3 คุณสมบัติท่ัวไปของเปปไทด์ต้านจุลชีพ 5
1.4 โครงสร้างทุติยภูมิของเปปไทด์ต้านจุลชีพ 5
1.4.1 เปปไทด์ท่ีมีโครงสร้างเกลียวแอลฟา-เฮลิกซ์ 5 (alpha-helical peptides)
* 1.4.2 เปปไทด์ที่มีโครงสร้างบีตา-ชีต (beta-sheet peptides) 7
* 1.4.3 เปปไทด์ที่มีโครงสร้างสายตรง (extended peptides) 8
* 1.4.4 เปปไทด์ท่ีมีโครงสร้างผสม (alpha-helix and 8 beta-sheet peptides)
1.5 กลไกการออกฤทธ์ของเปปไทด์ในการฆ่า เชื้อจุลชีพ ผ่านทางการทำ ลาย 9
เซลล์เมมเบรน
1.6 แบบจําาลองการทําาลายเชื้อของเปปไทด์ต้านจุลชีพผ่านเซลล์เมมเบรน 10
1.6.1 แบบจําลองถังไม้ (barrel-stave model) 10
1.6.2 แบบจําลองผืนพรม (carpet model) 10
1.6.3 แบบจําลองรูหนอน (toroid หรือ wormhole model) 10
1.7 กลไกการออกฤทธ์ิของเปปไทด์ในการฆ่าเชื้อจุลชีพผ่านทาง 12
สารชีวโมเลกุลภายในเซลล์