การปรุงยาล้านนา
การปรุงยาล้านนา
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : CHIANG MAI UNIVERSITY PRESS
- Author : พาณี ศิริสะอาด
- ISBN :9786163987815
- ภาษา : ไทย
- จำนวนหน้า : 144
- ขนาดไฟล์ : 7.34 MB
หนังสือ “การปรุงยาล้านนาจากใบลานและพับสา” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
หลักการในทางเภสัชกรรมพื้นบ้านของชุมชนล้านนา โดยเรียบเรียงจากเอกสารใบลาน
และพับสา ทั้งจากต้นฉบับและจากสำเนาไมโครฟิล์มและตำราภาษาล้านนาจากแหล่ง
แตกต่างกัน เพื่อรวบรวมเป็นองค์ความรู้และเพื่อสืบทอดภูมิปัญญาพื้นบ้าน
การจารึกเนื้อหาตำรายาลงในใบลานและพับสาเพื่อบันทึกสำหรับการจดจำ
โดยมีการบันทึกตัวยาและกำหนดวิธีการปรุงเป็นยาประเภทต่าง ๆ ได้อย่างน้อย
34 แบบ การปรุงยาจะเรียกว่าเป็นการสร้างยา ทั้งนี้จะให้ความสำคัญแก่การสร้างยา
เนื้อหาในเอกสารโบราณ พบว่าประกอบด้วยตัวยาสมุนไพรหลากหลายชนิด มีแหล่ง
ที่มาทั้งจากพืช สัตว์ และแร่ธาตุ ทั้งมีสมุนไพรหลากหลายชนิด หมอที่ใช้ยาจะเป็น
ผู้รอบรู้ด้านการเกิดโรคและองค์ความรู้ด้านตัวยา การเก็บยา และการปรุงยาล้วนแต่
ต้องอาศัยพิธีกรรม ความเชื่อ และเคล็ดวิชาเข้ามาเกี่ยวข้อง นอกจากนี้ตัวผู้ปรุงยา
จะต้องเป็นผู้มีศีลธรรม ทั้งนี้เพื่อให้การปรุงยาศักดิ์สิทธิ์รักษาโรคได้ ดังนั้น การจารึก
ตำราลงในใบลานและพับสานับเป็นความชาญฉลาดของชาวล้านนาในสมัยก่อน
ผู้อ่านจะได้สัมผัสคุณธรรมและจริยธรรมในตัวหมอ ผู้ซึ่งสร้างและปลูกศรัทธา เป็น
ทั้งครูที่ทำให้เห็นแบบอย่างเรื่องความดีงาม ความกตัญญู ระลึกถึงคุณของครูหรือครู
ของหมอโดยจะมีการทำขันตั้งบูชา นอกเหนือจากการบูชาขณะไปเก็บยา และสร้างยา
องค์ความรู้ด้านเภสัชกรรม จึงนับเป็นภูมิปัญญาที่คนรุ่นหลังควรเห็นคุณค่าและ
สืบทอด
คำนิยม ค
คำนำ จ
สารบัญ ฉ
สารบัญภาพ ช
สารบัญตาราง ซ
บทนำ 1
หลักการปรุงยาของการแพทย์พื้นบ้านล้านนา 3
หลักการปรุงยา 7
1. เภสัชวัตถุ 7
2. ประเภทของยา 11
3. ลักษณะเฉพาะของตัวยาและตำรับยา 11
4. มาตราที่ใช้ในการชั่ง ตวง วัด 23
5. การแปรสภาพยา 31
6. การเก็บยา 34
คำนำ จ
สารบัญ ฉ
สารบัญภาพ ช
สารบัญตาราง ซ
บทนำ 1
หลักการปรุงยาของการแพทย์พื้นบ้านล้านนา 3
หลักการปรุงยา 7
1. เภสัชวัตถุ 7
2. ประเภทของยา 11
3. ลักษณะเฉพาะของตัวยาและตำรับยา 11
4. มาตราที่ใช้ในการชั่ง ตวง วัด 23
5. การแปรสภาพยา 31
6. การเก็บยา 34