การสร้างคำในภาษาไทยสมัยอยุธยา: วิธีสร้างคำประสม
การสร้างคำในภาษาไทยสมัยอยุธยา: วิธีสร้างคำประสม
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Author : ราตรี ธันวารชร
- ISBN :9786163141279
- ภาษา : ไทย
- จำนวนหน้า : 165
- ขนาดไฟล์ : 8.40 MB
ตำราเล่มนี้ได้เสนอวิธีสร้างคำในภาษาไทยไว้ 2 วิธี คือ คำซ้ำ คำประสม โดยศึกษาละเอียดถึงวิธีสร้างคำประสม ลำดับความคิดในการสร้างคำประสม และได้แสดงวิธีสร้างคำประสมนาม กริยา คุณศัพท์ และกริยาวิเศษณ์ไว้อย่างละเอียด และศึกษาความเปลี่ยนแปลงของคำประสมในด้านรูปคำ นอกจากนี้ได้เสนอความคิดในเรื่องปริบทเนื้อหา (context of content) ซึ่งมีอิทธิพลต่อการปรากฏของคำที่สร้างแล้ว คือถ้าเนื้อหาเป็นตำนาน, พงศาวดารเกี่ยวกับศาสนา ความเชื่อ หรือเกี่ยวกับเรื่องพระมหากษัตริย์ คำที่สร้างแล้วมักเป็นคำสมาส ถ้าปริบทเนื้อหาเป็นการพรรณนาบรรยายอย่างละเอียดของเหตุการณ์ หรือความรู้สึก คำที่ปรากฏมักเป็นคำซ้อนเป็นส่วนใหญ่ คำซ้ำเป็นส่วนน้อย ฯลฯ สิ่งที่สำคัญคือ ในการศึกษาภาษาไทยสมัยเก่าจะทำให้ผู้อ่านเห็นลักษณะภาษาไทย และการสร้างคำภาษาไทยในสมัยนั้น ๆ ว่าบางส่วนอาจเหมือนหรือต่างกับปัจจุบัน ตำราเล่มนี้จึงเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาวิชาคำและความหมายในภาษาไทย (ท.211) และวิชาอักขระวิธีและการใช้คำในภาษาไทย (ท.311) ซึ่งเป็นวิชาบังคับของภาษาวิชาภาษาไทย คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิชาวิวัฒนาการของภาษาไทย วิชาการศึกษาภาษาไทยต่างสมัย รวมทั้งเป็นประโยชน์อย่างมากต่อผู้ที่สนใจศึกษาภาษาไทย ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกของทุกมหาวิทยาลัยที่มีการศึกษาวิชาเอกทางภาษาไทยและภาษาศาสตร์
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 การสร้างคำในสมัยอยุธยา
2.1 คำผสานหรือคำประสาน
2.2 คำซ้อน
2.3 คำซ้ำ
2.4 สรุป
บทที่ 3 พัฒนาการศึกษาเกี่ยวกับคำประสมในภาษาไทย
บทที่ 4 วิธีสร้างคำประสมในสมัยอยุธยา
4.1 คำจำกัดความ
4.2 เกณฑ์
4.3 โครงสร้างของคำประสม ในสมัยอยุธยา
ตำราเล่มนี้ได้เสนอวิธีสร้างคำในภาษาไทยไว้ 2 วิธี คือ คำซ้ำ คำประสม โดยศึกษาละเอียดถึงวิธีสร้างคำประสม ลำดับความคิดในการสร้างคำประสม และได้แสดงวิธีสร้างคำประสมนาม กริยา คุณศัพท์ และกริยาวิเศษณ์ไว้อย่างละเอียด และศึกษาความเปลี่ยนแปลงของคำประสมในด้านรูปคำ นอกจากนี้ได้เสนอความคิดในเรื่องปริบทเนื้อหา (context of content) ซึ่งมีอิทธิพลต่อการปรากฏของคำที่สร้างแล้ว คือถ้าเนื้อหาเป็นตำนาน, พงศาวดารเกี่ยวกับศาสนา ความเชื่อ หรือเกี่ยวกับเรื่องพระมหากษัตริย์ คำที่สร้างแล้วมักเป็นคำสมาส ถ้าปริบทเนื้อหาเป็นการพรรณนาบรรยายอย่างละเอียดของเหตุการณ์ หรือความรู้สึก คำที่ปรากฏมักเป็นคำซ้อนเป็นส่วนใหญ่ คำซ้ำเป็นส่วนน้อย ฯลฯ สิ่งที่สำคัญคือ ในการศึกษาภาษาไทยสมัยเก่าจะทำให้ผู้อ่านเห็นลักษณะภาษาไทย และการสร้างคำภาษาไทยในสมัยนั้น ๆ ว่าบางส่วนอาจเหมือนหรือต่างกับปัจจุบัน ตำราเล่มนี้จึงเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาวิชาคำและความหมายในภาษาไทย (ท.211) และวิชาอักขระวิธีและการใช้คำในภาษาไทย (ท.311) ซึ่งเป็นวิชาบังคับของภาษาวิชาภาษาไทย คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิชาวิวัฒนาการของภาษาไทย วิชาการศึกษาภาษาไทยต่างสมัย รวมทั้งเป็นประโยชน์อย่างมากต่อผู้ที่สนใจศึกษาภาษาไทย ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกของทุกมหาวิทยาลัยที่มีการศึกษาวิชาเอกทางภาษาไทยและภาษาศาสตร์
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 การสร้างคำในสมัยอยุธยา
2.1 คำผสานหรือคำประสาน
2.2 คำซ้อน
2.3 คำซ้ำ
2.4 สรุป
บทที่ 3 พัฒนาการศึกษาเกี่ยวกับคำประสมในภาษาไทย
บทที่ 4 วิธีสร้างคำประสมในสมัยอยุธยา
4.1 คำจำกัดความ
4.2 เกณฑ์
4.3 โครงสร้างของคำประสม ในสมัยอยุธยา
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 การสร้างคำในสมัยอยุธยา
2.1 คำผสานหรือคำประสาน
2.2 คำซ้อน
2.3 คำซ้ำ
2.4 สรุป
บทที่ 3 พัฒนาการศึกษาเกี่ยวกับคำประสมในภาษาไทย
บทที่ 4 วิธีสร้างคำประสมในสมัยอยุธยา
4.1 คำจำกัดความ
4.2 เกณฑ์
4.3 โครงสร้างของคำประสม ในสมัยอยุธยา