กลศาสตร์วิศวกรรมภาคพลศาสร์
กลศาสตร์วิศวกรรมภาคพลศาสร์
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Author : อิศเรศ ธุชกัลยา
- ISBN :9786163144355
- ภาษา : ไทย
- จำนวนหน้า : 320
- ขนาดไฟล์ : 30.32 MB
เป็นที่ทราบกันดีว่า วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร์ (Engineering Mechanics-Statics) เป็นการศึกษาและวิเคราะห์ถึง วัตถุที่หยุดนิ่ง ไม่มีการเคลื่อนไหว เพื่อหาแรงหรือโมเมนต์ที่มากระทำ แต่ในความเป็นจริงนั้น โดยส่วนใหญ่วัตถุหรือชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องจักรกลมักจะมีการเคลื่อนที่อยู่เสมอ ดังนั้นจึงทำให้การศึกษาและวิเคราะห์เพื่อหาแรงหรือโมเมนต์ที่เกี่ยวข้องนั้นมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากมีตัวแปรทางด้านความเร็วและความเร่งเข้ามาเกี่ยวข้องเพิ่มขึ้นโดยวิชากลศาสตร์วิศวกรรม ภาคพลศาสตร์ (Engineering Mechanics-Dynamics) นั้น จะเป็นส่วนเติมเต็มให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์แรงหรือโมเมนต์ที่มากระทำกับชิ้นส่วนของเครื่องจักรต่างๆ ได้อย่างครอบคลุมมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้เนื้อหาของวิชานี้ยังเป็นพื้นฐานความรู้ที่สำคัญสำหรับการศึกษาต่อทางด้านกลศาสตร์เครื่องจักรกล (Mechanics of Machines) และการสั่นสะเทือนเชิงกล (Mechanical Vibrations) ด้วย
สารบัญ
- บทที่ 1 บทนำสำหรับวิชากลศาสตร์วิศวกรรมภาคพลศาสตร์
- บทที่ 2 จลนศาสตร์ของอนุภาค
- บทที่ 3 จลนพลศาสตร์ของอนุภาค:แรงและความเร่ง
- บทที่ 4 จลนพลศาสตร์ของอนุภาค:งานและพลังงาน
- บทที่ 5 จลนพลศาสตร์ของอนุภาค: การดลและโมเมนตัม
- บทที่ 6 จลนศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง
- บทที่ 7 จลนพลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง: แรงและความเร่ง
- บทที่ 8 จลนพลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง: งานและพลังงาน
ฯลฯ
เป็นที่ทราบกันดีว่า วิชากลศาสตร์วิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร์ (Engineering Mechanics-Statics) เป็นการศึกษาและวิเคราะห์ถึง วัตถุที่หยุดนิ่ง ไม่มีการเคลื่อนไหว เพื่อหาแรงหรือโมเมนต์ที่มากระทำ แต่ในความเป็นจริงนั้น โดยส่วนใหญ่วัตถุหรือชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องจักรกลมักจะมีการเคลื่อนที่อยู่เสมอ ดังนั้นจึงทำให้การศึกษาและวิเคราะห์เพื่อหาแรงหรือโมเมนต์ที่เกี่ยวข้องนั้นมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากมีตัวแปรทางด้านความเร็วและความเร่งเข้ามาเกี่ยวข้องเพิ่มขึ้นโดยวิชากลศาสตร์วิศวกรรม ภาคพลศาสตร์ (Engineering Mechanics-Dynamics) นั้น จะเป็นส่วนเติมเต็มให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์แรงหรือโมเมนต์ที่มากระทำกับชิ้นส่วนของเครื่องจักรต่างๆ ได้อย่างครอบคลุมมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้เนื้อหาของวิชานี้ยังเป็นพื้นฐานความรู้ที่สำคัญสำหรับการศึกษาต่อทางด้านกลศาสตร์เครื่องจักรกล (Mechanics of Machines) และการสั่นสะเทือนเชิงกล (Mechanical Vibrations) ด้วย
สารบัญ
- บทที่ 1 บทนำสำหรับวิชากลศาสตร์วิศวกรรมภาคพลศาสตร์
- บทที่ 2 จลนศาสตร์ของอนุภาค
- บทที่ 3 จลนพลศาสตร์ของอนุภาค:แรงและความเร่ง
- บทที่ 4 จลนพลศาสตร์ของอนุภาค:งานและพลังงาน
- บทที่ 5 จลนพลศาสตร์ของอนุภาค: การดลและโมเมนตัม
- บทที่ 6 จลนศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง
- บทที่ 7 จลนพลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง: แรงและความเร่ง
- บทที่ 8 จลนพลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง: งานและพลังงาน
ฯลฯ
สารบัญ
- บทที่ 1 บทนำสำหรับวิชากลศาสตร์วิศวกรรมภาคพลศาสตร์
- บทที่ 2 จลนศาสตร์ของอนุภาค
- บทที่ 3 จลนพลศาสตร์ของอนุภาค:แรงและความเร่ง
- บทที่ 4 จลนพลศาสตร์ของอนุภาค:งานและพลังงาน
- บทที่ 5 จลนพลศาสตร์ของอนุภาค: การดลและโมเมนตัม
- บทที่ 6 จลนศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง
- บทที่ 7 จลนพลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง: แรงและความเร่ง
- บทที่ 8 จลนพลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง: งานและพลังงาน
ฯลฯ