สาส์นรักฝากหงส์ ลำนำรักแห่งอินเดียใต้
สาส์นรักฝากหงส์ ลำนำรักแห่งอินเดียใต้
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
0/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Author : นาวิน โบษกรณัฐ
- ISBN :9786163149640
- ภาษา : ไทย
- จำนวนหน้า : 157
- ขนาดไฟล์ : 3.41 MB
ความคิดทางศาสนาฮินดูที่เป็นกระแสหลักและมีอิทธิพลต่อสังคมไทยมาแต่โบราณอาจมาได้หลายทาง แต่ที่สำคัญและมีอิทธิพลต่อความคิดในสังคมไทย คือ พราหมณ์และพ่อค้าจากอินเดียใต้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่อาศัยอยู่ในแคว้นทมิฬ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญคือทมิฬมีท่าเรือสำคัญที่มีการค้ารุ่งเรืองมาก ชาวอินเดียใต้บางส่วนจึงเดินทางไปแสวงโชคสู่ดินแดนทางตะวันออก อันได้แก่เกาะสุมาตรา เกาะมะละกา และขึ้นฝั่งยังดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บ้างก็เพื่อค้าขายบ้างมาตั้งรกรากและได้กลายเป็นบรรพบุรุษของชาวพื้นเมืองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สารบัญ
- บทนำ
ที่มาของ “สาส์นรัก”
สาส์นรักฝากหงส์ : ตัวบท
สาส์นรักฝากหงส์ : บริบท
สาส์นรักฝากหงส์ กับ ราชาพิลาปคำฉันท์
ต้นฉบับและการแปล
บรรณานุกรม
- สาส์นรักฝากหงส์
ปฐมบท
ปัจฉิมบท
เชิงอรรถท้ายบท
ต้นฉบับภาษาสันสกฤต
ความคิดทางศาสนาฮินดูที่เป็นกระแสหลักและมีอิทธิพลต่อสังคมไทยมาแต่โบราณอาจมาได้หลายทาง แต่ที่สำคัญและมีอิทธิพลต่อความคิดในสังคมไทย คือ พราหมณ์และพ่อค้าจากอินเดียใต้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่อาศัยอยู่ในแคว้นทมิฬ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญคือทมิฬมีท่าเรือสำคัญที่มีการค้ารุ่งเรืองมาก ชาวอินเดียใต้บางส่วนจึงเดินทางไปแสวงโชคสู่ดินแดนทางตะวันออก อันได้แก่เกาะสุมาตรา เกาะมะละกา และขึ้นฝั่งยังดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บ้างก็เพื่อค้าขายบ้างมาตั้งรกรากและได้กลายเป็นบรรพบุรุษของชาวพื้นเมืองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สารบัญ
- บทนำ
ที่มาของ “สาส์นรัก”
สาส์นรักฝากหงส์ : ตัวบท
สาส์นรักฝากหงส์ : บริบท
สาส์นรักฝากหงส์ กับ ราชาพิลาปคำฉันท์
ต้นฉบับและการแปล
บรรณานุกรม
- สาส์นรักฝากหงส์
ปฐมบท
ปัจฉิมบท
เชิงอรรถท้ายบท
ต้นฉบับภาษาสันสกฤต
สารบัญ
- บทนำ
ที่มาของ “สาส์นรัก”
สาส์นรักฝากหงส์ : ตัวบท
สาส์นรักฝากหงส์ : บริบท
สาส์นรักฝากหงส์ กับ ราชาพิลาปคำฉันท์
ต้นฉบับและการแปล
บรรณานุกรม
- สาส์นรักฝากหงส์
ปฐมบท
ปัจฉิมบท
เชิงอรรถท้ายบท
ต้นฉบับภาษาสันสกฤต